การประเมินผลด้านต่างๆ
วัตถุประสงค์
เพื่อวัดค่าการดำเนินงานของคณะทำงาน จากข้อติชม,แนะนำ จากผู้ปกครองของผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯ และนำมาปรับปรุงระบบงาน การติดต่อประสานงาน ให้มีคุณภาพเพิ่มมากขึ้น และจะนำจุดอ่อนมาพัฒนาให้เกิดคุณภาพเพิ่มมากขึ้นต่อไป
หัวข้อในการสอบถาม
1. การติดต่อประสานงาน ระหว่างผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่
2. การรายงาน พฤติกรรม และการพัฒนาของตัวสมาชิกต่อผู้ปกครอง
3. การให้คำปรึกษาเรื่องแบบแผน และระยะเวลาในการฟื้นฟูฯ
4. การติดต่อประสานงาน เรื่องสุขภาพ การดูแลสุขภาพ และการส่งต่อผู้ป่วย
5. การพัฒนาและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯ
6. รูปแบบการฟื้นฟูฯ และโปรแกรมที่ใช้ในการฟื้นฟูฯ
7. ขั้นตอนและการพัฒนาตามขั้นตอนของสิทธิ์ต่างๆ (ระยะเวลาของสิทธิ์)
8. ระยะเวลาในการจบโปรแกรมฟื้นฟูฯ ( 1 ปี 6 เดือน) และการต่อโปรแกรมฟื้นฟูฯ (2 รอบ / รอบละ 3 เดือน
รวม 6 เดือน) ตามพัฒนาการด้านพฤติกรรมและวุฒิภาวะของสมาชิก
9. อาคารและสถานที่ ที่ใช้ในการฟื้นฟูฯ ผู้ป่วยยาเสพติด
10. อุปกรณ์ อำนวยความสะดวก และส่งเสริมกิจกรรมการฟื้นฟูฯ ผู้ป่วย
สรุปคะแนน เดือน เมษายน พ.ศ.2565 จากผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 44 คน
คิดเป็นคะแนนความพึงพอใจ อยู่ที่ 92.45%
สรุปคะแนน เดือน สิงหาคม พ.ศ.2565 จากผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 44 คน
คิดเป็นคะแนนความพึงพอใจ อยู่ที่ 92.50%
สรุปคะแนน เดือน ธันวาคม พ.ศ.2565 จากผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 39 คน
คิดเป็นคะแนนความพึงพอใจ อยู่ที่ 91.33%
วัตถุประสงค์
เป็นแบบสอบถามที่จัดทำขึ้นภายในสถานฟื้นฟูฯ สำหรับผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯ ได้ทำการประเมินความพึงพอใจในด้านต่างๆ เพื่อให้ทางสถานฟื้นฟูฯ ได้ทำการปรับเปลี่ยนแก้ไข กระบวนการรูปแบบ การดูแล การให้คำปรึกษา ให้มีคุณภาพเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้การดำเนินชีวิตและความเป็นอยู่ของผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯได้รับสิทธิต่างๆอันควรที่จะได้รับ ตามรูปแบบกระบวนการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด(ชุมชนบำบัด) ซึ่งถือว่าข้อมูลต่างๆที่ได้รับจากผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯ มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาต่างๆ ของผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯและของสถานฟื้นฟูฯ
หัวข้อในการสอบถาม
1. รูปแบบที่ใช้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด "โปรแกรมชุมชนบำบัด"
2. กิจกรรมประจำวันที่ใช้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด “Schedule”
3. อุปกรณ์ สื่อ เครื่องมือ ที่ใช้ในกระบวนการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
4. บุคลากร/วิทยากร ภายนอกที่เข้ามาให้ความรู้เสริมในกระบวนการการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
5. การให้ความสำคัญเรื่องสุขภาพ การดูแลสุขภาพ ของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
6. การส่งต่อผู้ป่วยเข้ารับการรักษานอกสถานที่ ตามอาการที่เกิดขึ้นของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
7. ปริมาณอาหาร ความสะอาด การดูแลด้านการบริโภคของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
8. อาคารและสถานที่ที่ใช้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
9. การให้คำปรึกษาและดูแลของเจ้าหน้าที่ให้คำปรึกษาของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
10. การจัดกิจกรรมเนื่องในโอกาสพิเศษต่างๆให้กับผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
สรุปคะแนน เดือน เมษายน พ.ศ.2565 จากผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 44 คน
คิดเป็นคะแนนความพึงพอใจ อยู่ที่ 91.32%
สรุปคะแนน เดือน สิงหาคม พ.ศ.2565 จากผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 50 คน
คิดเป็นคะแนนความพึงพอใจ อยู่ที่ 91.32%
สรุปคะแนน เดือน ธันวาคม พ.ศ.2565 จากผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 41 คน
คิดเป็นคะแนนความพึงพอใจ อยู่ที่ 97.07%
วัตถุประสงค์
เพื่อวัดค่าการดำเนินงานของคณะทำงาน จากข้อติชม,แนะนำ จากผู้ปกครองของผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯ และนำมาปรับปรุงระบบงาน การติดต่อประสานงาน ให้มีคุณภาพเพิ่มมากขึ้น และจะนำจุดอ่อนมาพัฒนาให้เกิดคุณภาพเพิ่มมากขึ้นต่อไป
หัวข้อในการสอบถาม
1. การติดต่อประสานงาน ระหว่างผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่
2. การรายงาน พฤติกรรม และการพัฒนาของตัวสมาชิกต่อผู้ปกครอง
3. การให้คำปรึกษาเรื่องแบบแผน และระยะเวลาในการฟื้นฟูฯ
4. การติดต่อประสานงาน เรื่องสุขภาพ การดูแลสุขภาพ และการส่งต่อผู้ป่วย
5. การพัฒนาและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯ
6. รูปแบบการฟื้นฟูฯ และโปรแกรมที่ใช้ในการฟื้นฟูฯ
7. ขั้นตอนและการพัฒนาตามขั้นตอนของสิทธิ์ต่างๆ (ระยะเวลาของสิทธิ์)
8. ระยะเวลาในการจบโปรแกรมฟื้นฟูฯ ( 1 ปี 6 เดือน) และการต่อโปรแกรมฟื้นฟูฯ (2 รอบ / รอบละ 3 เดือน
รวม 6 เดือน) ตามพัฒนาการด้านพฤติกรรมและวุฒิภาวะของสมาชิก
9. อาคารและสถานที่ ที่ใช้ในการฟื้นฟูฯ ผู้ป่วยยาเสพติด
10. อุปกรณ์ อำนวยความสะดวก และส่งเสริมกิจกรรมการฟื้นฟูฯ ผู้ป่วย
สรุปคะแนน เดือน เมษายน พ.ศ.2566 จากผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 46 คน
คิดเป็นคะแนนความพึงพอใจ อยู่ที่ 92.04%
สรุปคะแนน เดือน สิงหาคม พ.ศ.2566 จากผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 34 คน
คิดเป็นคะแนนความพึงพอใจ อยู่ที่ 94.12%
สรุปคะแนน เดือน ธันวาคม พ.ศ.2566 จากผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 37 คน
คิดเป็นคะแนนความพึงพอใจ อยู่ที่ 93.03%
วัตถุประสงค์
เป็นแบบสอบถามที่จัดทำขึ้นภายในสถานฟื้นฟูฯ สำหรับผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯ ได้ทำการประเมินความพึงพอใจในด้านต่างๆ เพื่อให้ทางสถานฟื้นฟูฯ ได้ทำการปรับเปลี่ยนแก้ไข กระบวนการรูปแบบ การดูแล การให้คำปรึกษา ให้มีคุณภาพเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้การดำเนินชีวิตและความเป็นอยู่ของผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯได้รับสิทธิต่างๆอันควรที่จะได้รับ ตามรูปแบบกระบวนการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด(ชุมชนบำบัด) ซึ่งถือว่าข้อมูลต่างๆที่ได้รับจากผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯ มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาต่างๆ ของผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯและของสถานฟื้นฟูฯ
หัวข้อในการสอบถาม
1. รูปแบบที่ใช้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด "โปรแกรมชุมชนบำบัด"
2. กิจกรรมประจำวันที่ใช้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด “Schedule”
3. อุปกรณ์ สื่อ เครื่องมือ ที่ใช้ในกระบวนการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
4. บุคลากร/วิทยากร ภายนอกที่เข้ามาให้ความรู้เสริมในกระบวนการการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
5. การให้ความสำคัญเรื่องสุขภาพ การดูแลสุขภาพ ของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
6. การส่งต่อผู้ป่วยเข้ารับการรักษานอกสถานที่ ตามอาการที่เกิดขึ้นของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
7. ปริมาณอาหาร ความสะอาด การดูแลด้านการบริโภคของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
8. อาคารและสถานที่ที่ใช้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
9. การให้คำปรึกษาและดูแลของเจ้าหน้าที่ให้คำปรึกษาของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
10. การจัดกิจกรรมเนื่องในโอกาสพิเศษต่างๆให้กับผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
สรุปคะแนน เดือน เมษายน พ.ศ.2566 จากผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 48 คน
คิดเป็นคะแนนความพึงพอใจ อยู่ที่ 97.42%
สรุปคะแนน เดือน สิงหาคม พ.ศ.2566 จากผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 50 คน
คิดเป็นคะแนนความพึงพอใจ อยู่ที่ 94.64%
สรุปคะแนน เดือน ธันวาคม พ.ศ.2566 จากผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 42 คน
คิดเป็นคะแนนความพึงพอใจ อยู่ที่ 95.00%
วัตถุประสงค์
เพื่อวัดค่าการดำเนินงานของคณะทำงาน จากข้อติชม,แนะนำ จากผู้ปกครองของผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯ และนำมาปรับปรุงระบบงาน การติดต่อประสานงาน ให้มีคุณภาพเพิ่มมากขึ้น และจะนำจุดอ่อนมาพัฒนาให้เกิดคุณภาพเพิ่มมากขึ้นต่อไป
หัวข้อในการสอบถาม
1. การติดต่อประสานงาน ระหว่างผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่
2. การรายงาน พฤติกรรม และการพัฒนาของตัวสมาชิกต่อผู้ปกครอง
3. การให้คำปรึกษาเรื่องแบบแผน และระยะเวลาในการฟื้นฟูฯ
4. การติดต่อประสานงาน เรื่องสุขภาพ การดูแลสุขภาพ และการส่งต่อผู้ป่วย
5. การพัฒนาและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯ
6. รูปแบบการฟื้นฟูฯ และโปรแกรมที่ใช้ในการฟื้นฟูฯ
7. ขั้นตอนและการพัฒนาตามขั้นตอนของสิทธิ์ต่างๆ (ระยะเวลาของสิทธิ์)
8. ระยะเวลาโปรแกรมฟื้นฟูฯ : 6 เดือน , 12 เดือน , 18 เดือน
9. อาคารและสถานที่ ที่ใช้ในการฟื้นฟูฯ ผู้ป่วยยาเสพติด
10. อุปกรณ์ อำนวยความสะดวก และส่งเสริมกิจกรรมการฟื้นฟูฯ ผู้ป่วย
สรุปคะแนน เดือน เมษายน พ.ศ.2567 จากผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 45 คน
คิดเป็นคะแนนความพึงพอใจ อยู่ที่ 91.82%
สรุปคะแนน เดือน สิงหาคม พ.ศ.2567 จากผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 36 คน
คิดเป็นคะแนนความพึงพอใจ อยู่ที่ 93.78%
สรุปคะแนน เดือน ธันวาคม พ.ศ.2567 จากผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 30 คน
คิดเป็นคะแนนความพึงพอใจ อยู่ที่ 93.60%
วัตถุประสงค์
เป็นแบบสอบถามที่จัดทำขึ้นภายในสถานฟื้นฟูฯ สำหรับผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯ ได้ทำการประเมินความพึงพอใจในด้านต่างๆ เพื่อให้ทางสถานฟื้นฟูฯ ได้ทำการปรับเปลี่ยนแก้ไข กระบวนการรูปแบบ การดูแล การให้คำปรึกษา ให้มีคุณภาพเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้การดำเนินชีวิตและความเป็นอยู่ของผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯได้รับสิทธิต่างๆอันควรที่จะได้รับ ตามรูปแบบกระบวนการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด(ชุมชนบำบัด) ซึ่งถือว่าข้อมูลต่างๆที่ได้รับจากผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯ มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาต่างๆ ของผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯและของสถานฟื้นฟูฯ
หัวข้อในการสอบถาม
1. รูปแบบที่ใช้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด "โปรแกรมชุมชนบำบัด"
2. กิจกรรมประจำวันที่ใช้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด “Schedule”
3. อุปกรณ์ สื่อ เครื่องมือ ที่ใช้ในกระบวนการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
4. บุคลากร/วิทยากร ภายนอกที่เข้ามาให้ความรู้เสริมในกระบวนการการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
5. การให้ความสำคัญเรื่องสุขภาพ การดูแลสุขภาพ ของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
6. การส่งต่อผู้ป่วยเข้ารับการรักษานอกสถานที่ ตามอาการที่เกิดขึ้นของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
7. ปริมาณอาหาร ความสะอาด การดูแลด้านการบริโภคของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
8. อาคารและสถานที่ที่ใช้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
9. การให้คำปรึกษาและดูแลของเจ้าหน้าที่ให้คำปรึกษาของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
10. การจัดกิจกรรมเนื่องในโอกาสพิเศษต่างๆให้กับผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
สรุปคะแนน เดือน เมษายน พ.ศ.2567 จากผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 45 คน
คิดเป็นคะแนนความพึงพอใจ อยู่ที่ 95.87%
สรุปคะแนน เดือน สิงหาคม พ.ศ.2567 จากผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 36 คน
คิดเป็นคะแนนความพึงพอใจ อยู่ที่ 91.89%
สรุปคะแนน เดือน ธันวาคม พ.ศ.2567 จากผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 31 คน
คิดเป็นคะแนนความพึงพอใจ อยู่ที่ 91.35%
สถิติการเข้ารับบริการ